แบบฝึกหัดท้ายบทที่ ๒
๑.ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แตกต่างกันอย่างไร
ตอบ ฮาร์ดแวร์เป็นอุปกรณ์จับต้อง สัมผัส
และสามารถมองเห็นได้เป็นรูปธรรม
ฮาร์ดของคอมพิวเตอร์จะมีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องของคอมพิวเตอร์(เช่น ซีพียู
เมนบอร์ด แรม ) และที่ติดตั้งอยู่ภายนอกเครื่องคอมพิวเอร์
(เช่น คีย์บอร์ด เม้าส์ จอภาพ
เครื่องพิมพ์ )
ส่วนซอฟต์แวร์ เป็นส่วนของโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่บรรจุคำสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ที่ต้องการโดยปกติแล้วจะถูกสร้างขึ้นโดยบุคคลที่เรียกว่า นักเขียนโปรแกรม
๒.หน่วยงานที่ชื่อ SIPA ถูกจัดตั้งโดยกระทรวงใด
มีบทบาทและหน้าที่อย่างไรบ้างในวงการซอฟต์แวร์ไทย
ตอบ ขึ้นในรูปขององค์การมหาชนเพื่อทำหน้าที่ส่งเสริมให้คนไทยพัฒนาซอฟต์แวร์ไว้ใช้เอง
ลดการนำเข้าจากต่างประเทศรวมถึงการพัฒนาการส่งออกและนำรายได้เข้าประเทศอีกทางหนึ่งด้วย
๓.นักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งานมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องอย่างไรบ้าง จงยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ หากเปรียบเทียบแล้วอาจเหมือนกับลักษณะการทำงานของสถาปนิกที่ออกแบบอาคารบ้านเรือนนั่นเอง
ซึ่งบ้านหรืออาคารแต่ละหลัง
จะออกแบบให้ดีได้ก็ต้องไปเก็บข้อมูลหรือสอบถามความต้องการของเจ้าของบ้านเสียก่อน
๔.ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์
มีหน้าที่และบทบาทอย่างไรกับงานทางด้านคอมพิวเตอร์
ตอบ หน้าที่หลักคือ การปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บางครั้งก็เรียกว่า ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ กลุ่มคนประเภทนี้จะต้องมีทักษะและประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างดี
เพราะการปฏิบัติงานกับผู้อาจเกิดปัญหาในการใช้งานได้ตลอดเวลา
๕.Software Engineer เกี่ยวข้องอย่างไรกับกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์
ตอบ ทำหน้าที่
ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาอย่างมีแบบแผนโดยอาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย เช่น
วัดค่าความซับซ้อนของซอฟต์แวร์ที่ทำว่าใช้บรรทัดคำสั่ง (line of
code) ในการเขียนโปรแกรมมากน้อยเพียงใด
๖.การดูแลและบริหารระบบเครือข่าย เกี่ยวข้องกับบุคคลตำแหน่งใดใดมากที่สุด
ตอบ เป็นเหมือนเส้นทางผ่านของสัญญาณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำในระบบสามารถเชื่อมต่อกันได้
อาจเปรียบเหมือนกับถนนที่ให้รถยนต์วิ่งไปยังสถานที่ใดสถานที่หนึ่งยิ่งถนนกว้างหรือมีมากเท่าไหร่
การส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็วและมากขึ้นเท่านั้น
๗.binary digit คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับการทำงานของคอมพิวเตอร์
ตอบ เป็นหน่วยความจำชนิดที่สามารถลบและบรรจุตำสั่งต่างๆ
ลงไปไหม่ได้โดยอาศัยการฉฟายแสงอุลตร้าไวโอเลตลงบนช่องกระจกบนตัวชิปช่วงระยะเวลาหนึ่ง
เมื่อข้อมูลีท่อยู่ในนั้นหายไปจึงนำเอาไปบรรจุคำสั่งใหม่ได้
๘.กระบวนการแปลงข้อมูลปกติให้เป็นเลขฐานสองทางคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ ข้อมูลเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมาก สำหรับกรณีของฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์เมื่อเสียหายแล้วเราอาจจะหาซื้อมาใหม่เพื่อทดแทนของเดิมได้
แต่ข้อมูลเมื่อสูญหายแล้วยากที่จะนำกลับคืนมาใหม่ได้
๙.การนำข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ สามารถทำได้โดยวิธีใดบ้าง จงยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ การนำเข้าข้อมูล ต้องผ่านอุปกรณ์หลายชนิด ขึ้นอยู่กับกับรูปแบบของข้อทูลด้วยว่าเป็นแบบใดและข้อมูลนำเข้าเหล่านั้นสามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์เหล่านั้นได้หรือไม่ เช่น
คีบอร์ต สแกนเนอร์ ไมโครโฟน
๑๐.พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์ ส่วนใดที่ถือว่าเป็นเหมือนกับ “สมอง”
และประกอบด้วยส่วนที่เกี่ยวข้องอะไรบ้าง
ตอบ คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปตามแนวสถาปัตยกรรมของจอห์น นิวแมนน์
ที่เน้นให้มีการติดตั้งชุดคำสั่งโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องได้นั้น มีหลักการทำงานซึ่งประกอบด้วยหน่วยที่เกี่ยวข้องแบ่งออกได้เป็น 5
หน่วย
-หน่วยงานประมวลผลกลาง (Central
processing Unit)
-หน่วยความจำ (Primary
storage)
-หน่วยความจำสำรอง (Secondary
storage)
-หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (input/output unit)
-ทางเดินของระบบ (system bus)
๑๑.ROM
และ RAM เหมมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ rom คือ เป็นหน่วยความจำที่อ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้
Ram คือ
เป็นหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งซึ่งต่างจาก rom คือ
จะจดจำข้อมุลคำสั่งในระหว่างระบบกำลังทำงานอยู่ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
๑๒.
machine
cycle คืออะไร และมีหลักการทำงานอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ จำเป็นต้องมีการสอบถามความต้องการ ในการใช้งานเบื้องต้นของกลุ่มผู้ใช้งานเหล่านี้ด้วย
โดยอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ลักษณะงานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน
รวมถึงการออกแบบสำรวจความต้องการฃของระบบที่อยากได้
๑๓.ขั้นตอนช่วง
E-Time ประกอบด้วยขั้นตอนอะไรบ้าง
ตอบ การดึงข้อมูล การแลความหมาย การปฏิบัติการ การเก็บผลลัพธ์
จากกระบวนการในขั้นตอนที่ ๑ และ
๒
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดึงเอาคำสั่งและแปลความหมายเกี่ยวกับคำสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการนั้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น